บทที่ ๑.๖: วรรณยุกต์

ບົດທີ່ ໑.໖: ວັນນະຍຸດ

วรรณยุกต์ คือตัวอักษรจำพวกนึง ที่ใช้สำหรับเปลี่ยนเสียง เพื่อให้สำเนียงเสียงพูดแตกต่างจากเสียงของสระ และพยัญชนะเดิม, ตัวอย่างคำว่า “ມ້າແລ່ນ” ( ม้าแล่น –ม้าวิ่ง ในภาษาไทย) เมื่อไม่ใส่วรรณยุกต์ก็จะออกเสียงเป็น “ມາແລນ” (มาแลน) แทน ซึ่งเป็นคำที่ไม่มีความหมายอะไร

วรรณยุกต์ในภาษาลาวนั้น จะมีด้วยกัน 4 ไม้ ดังนี้ครับ:

เรียกว่า ໄມ້ເອກ แปลว่า ໄມ້ທີ່ຫນຶ່ງ

เรียกว่า ໄມ້ໂທ แปลว่า ໄມ້ທີ່ສອງ

เรียกว่า ໄມ້ຕີ แปลว่า ໄມ້ທີ່ສາມ

เรียกว่า ໄມ້ຈັດຕະວາ แปลว่า ໄມ້ທີ່ສີ່
ถึงจะมี 4 ไม้ แต่ส่วนมากแล้ว จะนิยมใช้กันแค่ไม้เอก กับไม้โท. การใช้วรรณยุกต์ทั้งสี่นั้น ให้เขียนไว้บนหัวของตัวอักษรแกนของคำนั้น ๆ เสมอ เช่น: ກ່າ, ກ້າ, ກ໊າ, ກ໋າ.

เพราะมีวรรณยุกต์ จึงช่วยให้เราสามารถเขียนคำพูดในภาษาลาวได้มากเพียงพอต่อการสื่อสารในทุกระดับ

Technorati Tags: , , , , ,

4 thoughts on “บทที่ ๑.๖: วรรณยุกต์”

  1. อืมม์ เริ่ม ๆ จะอ่านภาษาลาวออกแล้ว เข้าบล็อกนี้บ่อย ๆ อีกหน่อยคล่องแน่

  2. สุดยอดครับ
    เจ๋งสุดๆเลยอ้ะเว็บนี้
    ผมขออณุญาตเอาไปอัพไว้ในblogเลยนะครับ
    จิงๆก้อไม่ค่อยมีคนอ่านหรอกคับ
    ห่ะๆ
    อยากลองเขียนภาษาลาวอ้ะ
    แต่ทำไม่เป็น
    จะมาอ่านอีกนะคับๆ
    สุดยอดๆ

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *

*

code

This site uses Akismet to reduce spam. Learn how your comment data is processed.